บุคลากรตัวอย่างด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ประจำปี พ.ศ. 2555

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษา อ้นทอง สังกัดคณะวิทยาศาสตร์

  ประวัติ     ข้อมูลด้านการทำวิจัย     ผลงานตีพิมพ์     การนำไปใช้ประโยชน์ และรางวัล     ผลงาน

ข้อมูลด้านการทำวิจัย

1. โครงการวิจัยภายใน  (เงินแผ่นดิน-เงินรายได้)
1.  แผนงานวิจัย การศึกษาการใช้ประโยชน์ของซีโอไลต์ในการลดของเสียในฟาร์มเลี้ยงสัตว์และการนำซีโอไลต์ที่ผ่านการลดของเสียไปใช้เป็นปุ๋ยในการปลูกพืช
2.  โครงการย่อย 1 ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมีของซีโอไลต์ธรรมชาติ และความสามารถในการดูดซับแอมโมเนียและไฮโดรเจนซัลไฟด์ในน้ำทิ้งจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์
3.  การดูดซับสารประกอบฟอสฟอรัสในน้ำด้วยซีโอไลต์
4.  โครงการย่อย 5 (อ.พีรนาฎ หัวหน้าโครงการ) การออกแบบระบบกรองโลหะหนักในน้ำเสียจากอุตสาหกรรมเครื่องเงิน ด้วยวัสดุกรองในท้องถิ่น
5.  โครงการย่อย 2 สมบัติทางเคมี และการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตยางแผ่นดิบโดยการประยุกต์ใช้วัสดุในท้องถิ่นและซีโอไลต์ธรรมชาติ
6.  การใช้น้ำทิ้งและปุ๋ยซีไอไลต์ จากการเลี้ยงปลานิลแดงแปลงเพศมาปลูกพืช
7.  โครงการย่อย 3 (ผศ.ดร.อมรรัตน์ หัวหน้าโครงการ) ประสิทธิภาพการดูดซับของเปลือกมังคุด ถ่านและถ่านกัมมันต์ จากเปลือกมังคุด
8.  แผนงานวิจัย : การบำบัดมลพิษจากการย้อมสีกระจูดและภูมิปัญญาการแปรรูปเศษกระจูดเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาวะ
9.  โครงการย่อย 1: การกำจัดโลหะหนักบนโครงสร้างซีโอไลต์ชนิด ZSM-5 และ FER ด้วยระเบียบวิธีการคำนวณทางเคมีคอมพิวเตอร์
10. โครงการย่อย 5:  (ผศ.ดร.อมรรัตน์ หัวหน้าโครงการ) การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือและของเสียจากกระบวนผลิตปลาดุกร้า: การผลิตอาหารเลี้ยงปลานิล
11. โครงการย่อย 4 (ผศ.ดร.อมรรัตน์ หัวหน้าโครงการ) การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือและของเสียจากการกระบวนผลิตปลาดุกร้า : การผลิตอาหารเลี้ยงปลานิล
12. แผนงานวิจัย การจัดการปัญหามลพิษจากการทำผลิตภัณฑ์ยางแผ่นในระดับครัวเรือน
13. โครงการย่อย 2 การปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพจากน้ำเสียการผลิตยางแผ่นเพื่อลดกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
14. โครงการย่อย 3 (ผศ.ดร.อมรรัตน์ หัวหน้าโครงการ) การใช้ประโยชน์จากวัสดุเศษเหลือและของเสียจากการกระบวนผลิตปลาดุกร้า : การผลิตแก๊สชีวภาพ

2. โครงการวิจัยภายนอก 
1.  การพัฒนาห้องสมุดเสมือน
2.  การผลผลกระทบจากของเสียที่เกิดจากการชำแหละสัตว์ในชุมชนทะเลน้อย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
3.  หมู่บ้านการจัดการน้ำเสียจากการทำยางแผ่น ด้วยระบบก๊าซชีวภาพ บ้านหัวคู หมู่ที่ 9 ตำบลสระแก้ว อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช กระทรวงวิทยาศาสตร์ ปี 2553 
4.  สภาพปัญหาและแนวทางการลดปัญหาด้านสุขภาวะจากการทำผลิตภัณฑ์กระจูดของชุมชนทะเลน้อย สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้
5.  การผลิตก๊าซชีวภาพในชุมชนบ้านหัวคูและพัฒนาชุมชนเป็นศูนย์เรียนรู้ในการจัดการน้ำเสียจากการผลิตยางแผ่นด้วยระบบก๊าซชีวภาพ  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
6.  การจัดการของเสียจากการผลิตยางแผ่นและของเสียจากครัวเรือนด้วยระบบบ่อหมักก๊าซชีวภาพ พื้นที่เกาะหมากน้อย จังหวัดพังงา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
7.  การจัดการของเสียในชุมชนด้วยระบบบ่อหมักก๊าซชีวภาพ พื้นที่บ้านเขาใน อำเภอกระแสสินธุ์  จังหวัดสงขลา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
8.  การจัดทำระเบิดจุลินทรีย์ เทศบาลตำบลพนางตุง
9.  โครงการจัดการของเสียจากการผลิตยางแผ่นและของเสียจากครัวเรือนด้วยระบบบ่อหมักก๊าซชีวภาพ
10. โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาวะที่ดีของชุมชน 
11.  การพัฒนากลยุทธในการขับเคลื่อนนโยบายพลังงานชุมชนภาคใต้
12.  เครือข่ายรักสายน้ำลุ่มน้ำอู่ตะเภาและทะเลสาบสงขลาตอนล่าง
13.  การบำบัดน้ำทิ้งจากการฟอกย้อมเส้นใยพืชชุมชนทะเลน้อย