บุคลากรตัวอย่างด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ประจำปี 2557

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลทิศา  สุขเกษม

      ข้อมูลส่วนตัว       ข้อมูลด้านการทำวิจัย       ผลงานตีพิมพ์       การใช้ประโยชน์       การสร้างเครือข่าย       การได้รับรางวัล       การได้รับยกย่อง

การได้รับยกย่อง

      การได้รับยกย่อง (จำนวนที่ได้รับเชิญ)

      1)ได้รับเชิญเป็นกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอก หลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
      เรื่อง Optimization of Laccase Production from White Rot Fungi with Palm Fruit Bunches for Application in Microbial Fuel Cells
      ของ นางสาว นันทิยา วัฒนกิจานุกูล วันที่ 22 ธันวาคม 2557
      2)ได้รับเชิญให้เป็นผู้ประเมินปิดโครงการ เครือข่ายโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของ อุตสาหกรรมไทย (ITAP)
      โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์(มอ.)กับ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ณ โรงงานแปรรูปไก่สดชำแหละ
      บริษัท สยามชิกเค้น โปรดักส์ จาก จ.กระบี่ วันที่ 18 ตุลาคม 2557
      3)ได้รับเชิญให้เป็นผู้ประเมินปิดโครงการ เครือข่ายโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของ อุตสาหกรรมไทย (ITAP)
      โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(มอ.)กับสำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) ณ สหกรณ์โคนมพัทลุง จ.พัทลุง
      วันที่ 15 พฤษภาคม 2557
      4)ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารมังสวิรัติสำเร็จรูป บริษัทอินโนเวทีฟฟูดส์ จาก จ.พัทลุง เรื่อง การจัดการ GMP, ทิศทางการดำเนินธุรกิจ
      SME และการตลาด ปี 2552
      5)ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต snack bar จากธัญพืชในท้องถิ่น แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพ บ.บ้านไทยเฮิร์บ จำกัด จ.พัทลุง ปี 2553
      6)ถ่ายทอดงานวิจัยเรื่องระบบการบำบัดน้ำเสียพิษจากโรงงานแปรรูปยางพาราด้วยระบบเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพให้แก่กรรมการ สกย.บ้านทุ่งแสงทอง
      จาก อ.ตะโหมด จ.พัทลุง ปี 2554-2556
      7)ถ่ายทอดงานวิจัย เรื่องระบบการบำบัดน้ำเสียด้วยเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพและให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเลส่งออก
      บ.โกลเด้น โอเชียน ฟูดส์ จาก จ.สมุทรสาคร เรื่องการบำบัดน้ำเสีย ปี 2555-ปัจจุบัน
      8)เผยแพร่ผลงานทางสื่อวิทยุ ผ่านรายการวิทยุแห่งประเทศไทย FM 92.5 MHz เรื่องการผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสียด้วยเชื้อเพลิงจุลชีพ
      9)วิทยากรในงาน สกย. นัดพบประชาชน จ.พัทลุง เรื่องการบำบัดน้ำเสียพิษจากโรงงานแปรรูปยางพาราด้วยเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพ
      10)ได้รับเชิญเป็น Reviewer ให้กับวารสาร Biotechnology for Biofuels Impact factor 6.09
      เรื่อง Genetic Identification of Microbial Consortia in a Microbial Electrolysis Cell with Special Emphasis in the Biocathode
      11)ได้รับเชิญเป็น Reviewer ให้กับวารสาร Environmental Technology Impact factor 5.257
      เรื่อง Effect of The Chemical Oxidation Demand to Sulfide Ratio on Sulfide Oxidation in Microbial Fuel Cells Treating The Sulfide Rich Wastewater
      ปรับปรุง 11 ธันวาคม 2557
      12)ได้รับเชิญเป็น Reviewer ให้กับวารสาร Bioresource Technology Impact factor 5.04
      เรื่อง Bioenergy generation from mediator-less microbial fuel cell enriched with electrochemicallyactive bacteria from palm oil mill effluent
      13)ได้รับเชิญเป็น Reviewer ให้กับวารสาร Bioresource Technology Impact factor 5.04
      เรื่อง Microbial community dynamics in mesophilic anaerobic co-digestion of mixed Waste
      14)ได้รับเชิญเป็น Reviewer ให้กับงานประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
      เรื่อง Effect of hydraulic retention time on voltage production by microbial fuel cell
      15)ได้รับเชิญให้เป็นผู้ประเมินบทความให้กับมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
      เรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ในอุตสาหกรรมอาหาร (Application of Traceability System in Food Industry)
      16)ได้รับเชิญให้เป็นผู้ประเมินปิดโครงการ เครือข่ายโครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (ITAP)
      โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) กับสำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.)
      การทวนสอบหลักเกณฑ์การผลิตที่ดีและพัฒนาระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากเนื้อปลาบด
      17)ได้รับเชิญให้เป็นประเมินโครงการวิจัย แก่ Innovative Learning Center, Srinakharinwirot University, 114 Sukhumvit 23, Khlong Tei Nheui, Wattana,
      Bangkok, 10110 เรื่อง Development of Htype EM-MFC reactor system for electricity generation during effective microorganism (EM)
      production by microbial fuel cell technology
      18)ได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษาโครงการวิจัยแก่หน่วยวิจัยสำหรับพลังงาน ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
      เรื่อง การพัฒนารูปแบบของขั้วไฟฟ้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ UBFC   

      ตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบทางวิชาการ

  1. ประธานสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร เดือน กันยายน ปี 2554 ถึงเดือน มิถุนายน 2555
  2. เลขาฯ ร่างหลักสูตรปรับปรุง วทบ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร)
  3. กรรมการร่างหลักสูตร วทม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร)
  4. คณะกรรมการหลักสูตร วทม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) และ ปรด.(เทคโนโลยีชีวภาพ)
  5. กรรมการบริหารคณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน เดือน ตุลาคม 2556 ถึงปัจจุบัน
  6. กรรมการบริหารศูนย์วิจัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม ปี 2555 ถึงปัจจุบัน
  7. กรรมการศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง ปี 2557-ปัจจุบัน

      รายวิชาที่รับผิดชอบในหลักสูตร วทบ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร)

  1. การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ร้อยละ 100 (ปี 2551-ปัจจุบัน)
  2. วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ร้อยละ 100 (ปี 2551-ปัจจุบัน)
  3. สุขาภิบาลโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ร้อยละ 100 ปี 2556-ปัจจุบัน
  4. การควบคุมและการประกันคุณภาพอาหาร ร้อยละ 100 (ปี 2551-2553) ร้อยละ 30 (ปี 2554-ปัจจุบัน)
  5. เทคโนโลยีชีวภาพ หลักสูตรปริญญาตรี ร้อยละ 50 (ปี 2551-ปัจจุบัน)
  6. เทคโนโลยีอุตสาหกรรมการหมัก ร้อยละ 50 (ปี 2551-ปัจจุบัน)
  7. การจัดการโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ร้อยละ 100 (ปี 2551-2554)
  8. วิศวกรรมอาหาร ร้อยละ 100 (ปี 2551-2552)

      เอกสารประกอบการสอน
            ชลทิศา สุขเกษม. 2553. การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหารเบื้องต้น. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
            (0404423) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ.
            ชลทิศา สุขเกษม. 2555. แนวทางการจัดทำแผนธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลาง. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
            คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ.